วันเสาร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2553

ทรัพยากรสารสนเทศ

ความสำคัญของสารสนเทศ
สารสนเทศเป็นรากฐานอันจำเป็นสำหรับความก้าวหน้าของอารยธรรมและสังคม เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสร้างสรรค์ หรือการใช้ทรัพยากร เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการตัดสินใจ เป็นองค์ประกอบที่ต้องใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
จากการประชุมยูเนสโก ครั้งที่ 19 กรุงไนโรบี ประเทศเคนยา ปี ค.ศ. 1976
สารสนเทศอยู่ที่ไหน ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources)วัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น กระดาษ สื่อดิจิตอล ที่บันทึกสารสนเทศ ที่ต้องการถ่ายทอดไปยังบุคคลอื่น
ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ
จำแนกได้หลายลักษณะ
1. จำแนกตามความทันสมัยของข้อมูล
2. จำแนกตามลักษณะการใช้ข้อมูล
3. จำแนกตามสื่อที่ใช้ในการบันทึก
ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ
แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. สื่อสิ่งพิมพ์ (Printed Materials
แบ่งเป็น 4 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. หนังสือ (Books)
2. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serials)
3. จุลสาร (Pamphlet)
4. กฤตภาค (Clipping)

2. สื่อโสตทัศน์ (Audio-Visual Materials)
แบ่งเป็น 7 ประเภท คือ
1. วัสดุกราฟิก (Graphic Materials)
แผนภูมิ (Chart)
แผนภาพ (Diagram)
แผนสถิติ (Graph)
ใบปิด (Poster)
แผนที่ (Map)
2. ภาพนิ่ง (Still Pictures)
รูปภาพ (Flat, Picture, Print)
สไลด์ (Slide)
3. วัสดุย่อส่วน (Microforms)
ไมโครฟิล์ม (Microfilm)
ไมโครฟิช (Microfiche)
ไมโครโอเพค (Microopague)
4. ภาพยนตร์ (Motion Pictures)
5. วีดีทัศน์ (Video Tape)
6. วัสดุบันทึกเสียง (Tape Cassette)
7. ลูกโลก หุ่นจำลอง ของตัวอย่าง (Globe, Model, Specimen)

3. สื่อดิจิตอล (Digital Materials)
ซีดี-รอม
ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)
ฐานข้อมูลซีดี-รอม (CD-ROM Database)
สื่อผสม (Multimedia)
สื่อหลายมิติ (Hypermedia)

ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิง หมายถึง
ทรัพยากรสารสนเทศที่เราหันไปหาเพื่อค้นคว้า
หาสารสนเทศบางอย่าง
- ความรู้ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
- เหตุการณ์ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
- บุคคล ใดบุคคลหนึ่ง
- สถานที่ แห่งใดแห่งหนึ่ง
- คำใดคำหนึ่ง
อนุญาตให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น
มีสัญลักษณ์เฉพาะ

REF
DS
S
593
593
น.42
B45
ประเภทให้สารสนเทศ
1. พจนานุกรม (Dictionary)
2. สารานุกรม (Encyclopedia)
3. นามานุกรม (Directory)
4. อักรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionary)
5. สารสนเทศอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical Sources)
6. หนังสือรายปี (Year Books, Annual)และสมพัตสร (Almanaces)
7. หนังสือคู่มือ (Handbooks)

ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิง ประเภทให้สารสนเทศ
พจนานุกรม (Dictionary)
รวบรวมคำตามลำดับอักษรและให้ข้อมูลเกี่ยวกับคำ :
- ตัวสะกด
- วิธีอ่านคำที่ถูกต้อง
- ชนิดของคำ
- ประวัติที่มาของคำ
- ความหมายของคำในภาษาเดียวกัน
- ความหมายของคำจากภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
พจนานุกรม (Dictionary)
แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้
พจนานุกรมภาษา (General Language Directory)
พจนานุกรมภาษาเดียว (Language Directory)
พจนานุกรมสองภาษา (Bilingual Dictionary)
พจนานุกรมหลายภาษา (Polyglot Dictionary)
พจนานุกรม (Dictionary)
แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้
พจนานุกรมเสริมภาษา (Supplementary
Language Dictionary)
พจนานุกรมคำพ้อง ( Synonym Dictionary)
พจนานุกรมคำย่อและตัวย่อ (Abbreviation and Accronyn Dictionary)
พจนานุกรมภาษาถิ่น (Local Language Dictionary)
พจนานุกรมภาษาแสลง (Slang Language Dictionary)
พจนานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Dictionary)
พจนานุกรมศัพท์สัมพันธ์ (Thesaurus)

สารานุกรม (Encyclopedia)
ให้สารสนเทศสารพัดอย่างในรูปของบทความ
ครอบคลุมเนื้อหาสาระในสาขาวิชาต่าง ๆ และ เรื่องราวที่น่าสนใจอย่างกว้างขวาง
มีการจัดเรียงเนื้อหาอย่างมีระบบ ซึ่งมักเรียง ตามลำดับอักษรของหัวข้อวิชา
มีดรรชนีช่วยค้นเรื่องอย่างละเอียด

สารานุกรม (Encyclopedia)
Q: จะหาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับโรคมะเร็งได้จากที่ไหน
Q: ตราประจำจังหวัดนครราชสีมาหน้าตาเป็นอย่างไร
Q:เทคโนโลยีเลเซอร์นำมาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ได้อย่างไรบ้าง
Q:จะทำรายงานเรื่องห้องสมุดดิจิตอล จะเริ่มต้นหาข้อมูลได้จากที่ไหน
Q: ไทยมีบทบาทในสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างไร
สารานุกรม (Encyclopedia)
สารานุกรมทั่วไป (General Encyclopedia)
Encyclopedia Americana
The Encyclopedia Britannica
The World Book Encyclopedia
สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน
สารานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Encyclopedia)
นามานุกรม (Directory)
อาจเรียกว่า ทำเนียบนาม หรือนามสงเคราะห์
รวบรวมรายชื่อบุคคล ชื่อสถาบัน หน่วยงาน องค์การ ห้างร้าน
มีการจัดเรียงอย่างมีระบบ มักเป็นไปตามลำดับอักษร
ใช้ประโยชน์ในการหาชื่อหน่วยงานและสถานที่ติดต่อ
นามานุกรม (Directory)
นามานุกรมท้องถิ่น (Local Directory)
นามานุกรมสถาบัน (Institutional Directory)
นามานุกรมของรัฐ (Government Directory)
นามานุกรมวิชาชีพ (Professional Directory)
นามานุกรมสินค้าและบริการ (Trade and Business Directory)
นามานุกรมอื่น ๆ - Siam Directory : The Book of Facts & Figures
อักรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionary)
อักขรานุกรมชีวประวัติบุคคลทั่วไป (International Biographical Dictionary)
อักขรานุกรมชีวประวัติบุคคลในชาติใดชาติ หนึ่ง (National Biographical Dictionary)
บุคคลในอาชีพใดอาชีพหนึ่ง(Professional Biographical Dictionary)
อักรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionary)
อักขรานุกรมชีวประวัติบุคคลที่มีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน(Current Biographical Dictionary)
อักขรานุกรมชีวประวัติบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้ว(Retrospective Biographical Dictionary)
สารสนเทศอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical Sources)
อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ (Geographical Dictionary or Gazetteer)
หนังสือนำเที่ยว (Guide Books)
หนังสือแผนที่ (Atlas)
แผนที่ (Maps)
หนังสือรายปี (Year Books)
หนังสือรายปีสารานุกรม (Encyclopedia Yearbooks
สมพัตสร/ปฎิทินเหตุการณ์รายปี (Almanacs)
หนังสือสถิติรายปี (Statistical Yearbooks)
หนังสือสรุปข่าวปัจจุบัน (Current Source or News Summary)
หนังสือรายปี (Year Books)
หนังสือรายปีทั่วไป
ข้อเท็จจริง สถิติต่าง ๆ ในรอบ 1 ปี
Q: สถิติการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุในรอบปี
Q: สถิติความเสียหายจากภัยพิบัติที่เหิดขึ้นในรอบปี
Q: ชื่อผู้ชนะการแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ ในรอบปี
Q: ประเด็นปัญหาสังคมที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุดในรอบปี
Q:สรุปเหตุการณ์ทางการเมืองในรอบปี
หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals)
เป็นคู่มือเฉพาะเรื่อง
รวบรวมสารสนเทศไว้อย่างย่อ ๆ ในเล่มเดียว
ให้ข้อมูลเบื้องต้นอย่างกว้าง ๆ
ให้ข้อเท็จนริงและสรุป
มีภาพประกอบ
หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals)
Q: การใช้ครีมประเภท Whitening มีผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายหรือไม่
Q: ตึกที่สูงที่สุดในโลกชื่ออะไร
Q: จะเขียนบรรณานุกรมให้ถูกต้องได้อย่างไร
Q: จะไปงานแต่งงานจะแต่งตัวอย่างไรจึงจะเหมาะสม
หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals)
หนังสือคู่มือทั่วไป (General Handbooks)
สิ่งแรกในเมืองไทยThe Guinness Book of Records
หนังสือคู่มือเฉพาะวิชา (Subject Handbooks)
Handbook of Mathematical Tables and Formulas
Engineering Handbooks
ดรรชนีและสาระสังเขป (Index and Abstract)
ดรรชนีวารสารทั่วไป (General Periodical Index)
ดรรชนีวารสารเฉพาะวิชา (Subject Periodical Index)
ดรรชนีวารสารเฉพาะชื่อ (
ดรรชนีการอ้างถึง (Citation Index)
ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิง อื่น ๆ
เอกสารสิทธิบัตร (Patent Specification)
เอกสารมาตรฐาน (Standard Specification)
เอกสารจดหมายเหตุ (Archive)
สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publications)
สิทธิบัตรและเอกสารสิทธิบัตร
สิทธิบัตร (Patent) คือ หนังสือสำคัญที่สำนักงานสิทธิบัตร ออกให้แก่ผู้ยื่นขอสิทธิบัตร เพื่อแสดงการคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์หรือแบบผลิตภัณฑ์ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ตามที่กฏหมายสิทธิบัตรกำหนดให้
สิทธิบัตรและเอกสารสิทธิบัตร
เอกสารสิทธิบัตร คือ เอกสารที่อธิบายรายละเอียดของการประดิษฐ์กรรมวิธีการผลิต การปรับปรุงกรรมวิธีการผลิต แสดงภาพและรายละเอียดของการถือสิทธิต่างๆ ที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์ที่ยื่นขอจดทะเบียนสิทธิบัตรต่อสำนักงานสิทธิบัตร เพื่อขอความคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์ หรือแบบผลิตภัณฑ์ของต
ความสำคัญของเอกสารสิทธิบัตร
- เป็นแหล่งสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สำคัญ
- เป็นแหล่งสารสนเทศที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์และผลิตภัณฑ์ใหม่
- เป็นเครื่องมือคาดคะแนนความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี
ความหมายของการมาตรฐาน
การมาตรฐาน หมายถึง กิจกรรมที่จัดทำข้อกำหนดเพื่อใช้ร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ได้รับประโยชน์สูงสุดในการนำไปใช้กิจกรรม = การกำหนดมาตรฐาน การประกาศใช้ มาตรฐาน และ การนำเอามาตรฐานไปใช้ประโยชน์ = การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ กรรมวิธีและการบริการให้มีความเหมาะสมกับการใช้งานยิ่งขึ้น
ความสำคัญของการมาตรฐาน
1. ช่วยให้ผลิตภัณฑ์มีความเหมาะสมกับการใช้งาน
2. ช่วยให้ผลิตภัณฑ์ซึ่งต้องใช้ร่วมกับผลิตภัณฑ์อื่นเข้ากันได้พอดี
3. ช่วยให้ผลิตภัณฑ์สามารถสับเปลี่ยนทดแทนกันได้
4. ช่วยก่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ใช้
แหล่งสารสนเทศมาตรฐาน
- สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระราม6กรุงเทพ ฯความสำคัญขจดหมายเหตุ
- เป็นเครื่องมือสำหรับการบริหารงาน
- เป็นหลักฐานทางกฎหมาย
- เป็นหลักฐานแสดงประวัติพัฒนาการ
ที่มา:สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
www.sut.ac.th/ist/Courses/204215/W2_Inforesource_46.ppt